หน้าแรก CDM
CDM คืออะไร
CDM คืออะไร
หลักการในการดำเนินโครงการ CDM
ลักษณะและประเภทของโครงการ CDM
การพัฒนาโครงการ
ขั้นตอนการพัฒนาโครงการ
รายชื่อบริษัทที่ปรึกษา/DOE
การขอคำรับรอง
การให้คำรับรองโครงการ
หลักเกณฑ์การพัฒนาที่ยั่งยืน (SD Criteria)
ขั้นตอนการพิจารณาให้คำรับรอง
เอกสารประกอบการพิจารณาให้คำรับรอง
การเพิ่มกิจกรรมโครงการ (CPA)
ค่าธรรมเนียมการขอคำรับรองโครงการ
สถิติโครงการ CDM
โครงการที่ได้รับ LoA ของประเทศไทย
โครงการ CDM ของประเทศไทย
ข้อมูลสถิติโครงการ CDM ของประเทศไทย
โครงการ CDM ทั่วโลก
สิทธิประโยชน์
การติดตามประเมินผล
วัตถุประสงค์
แนวทางการติดตามประเมินผล
ข่าวและกิจกรรม CDM
ข่าวสารและกิจกรรม CDM
กำหนดการจัดกิจกรรม CDM
ดาวน์โหลด
หน้าแรก
CDM
หลักการในการดำเนินโครงการ CDM
หน้าแรก CDM
CDM คืออะไร
- CDM คืออะไร
- หลักการในการดำเนินโครงการ CDM
- ลักษณะและประเภทของโครงการ CDM
- การพัฒนาโครงการ
- - ขั้นตอนการพัฒนาโครงการ
- - รายชื่อบริษัทที่ปรึกษา/DOE
การขอคำรับรอง
- การให้คำรับรองโครงการ
- หลักเกณฑ์การพัฒนาที่ยั่งยืน (SD Criteria)
- ขั้นตอนการพิจารณาให้คำรับรอง
- เอกสารประกอบการพิจารณาให้คำรับรอง
- การเพิ่มกิจกรรมโครงการ (CPA)
- ค่าธรรมเนียมการขอคำรับรองโครงการ
สถิติโครงการ CDM
- โครงการที่ได้รับ LoA ของประเทศไทย
- โครงการ CDM ของประเทศไทย
- ข้อมูลสถิติโครงการ CDM ของประเทศไทย
- โครงการ CDM ทั่วโลก
สิทธิประโยชน์
การติดตามประเมินผล
- วัตถุประสงค์
- แนวทางการติดตามประเมินผล
ข่าวและกิจกรรม CDM
- ข่าวสารและกิจกรรม CDM
- กำหนดการจัดกิจกรรม CDM
ดาวน์โหลด
หน้าแรก
CDM
หลักการในการดำเนินโครงการ CDM
หลักการในการดำเนินโครงการ CDM
Share
Tweet
Share
Share
17 มิถุนายน 2559
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้จากโครงการ CDM
นี้จะต้องได้รับการรับรอง (Certify) โดยหน่วยปฏิบัติการ (UNFCCC CDM-Executive Board, Designated Operational Entity: DOE และ Designated National Authority: DNA) ซึ่งแต่งตั้งโดย COP/MOP
จะต้องเป็นการเข้าร่วมดำเนินการด้วยความสมัครใจ (Voluntary participation)
โดยได้รับความเห็นชอบจากภาคีที่เกี่ยวข้อง รวมถึงความเห็นชอบของประเทศที่ตั้งโครงการ
จะต้องก่อให้เกิดประโยชน์ที่แท้จริง ตรวจวัดได้
และเป็นประโยชน์ในระยะยาวที่จะบรรเทากับเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และจะต้องเป็นปริมาณที่ลดที่ได้เพิ่มเติม (Additionality) จากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปกติในกรณีที่ไม่มีการดำเนินโครงการ CDM ที่ได้รับการรับรอง
จะต้องเป็นโครงการที่มีการดำเนินการเพิ่มเติมจากธุรกิจปกติ (business as usual)
ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการเงิน (financial) การลงทุน (investment) เทคโนโลยี (technology) และสิ่งแวดล้อม (environment)
จะต้องสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา
ซึ่งเป็นประเทศภาคีที่ตั้งโครงการ
กระบวนการต่างๆ จะต้องมีความโปร่งใส (Transparency) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และตรวจสอบได้ (Accountability)
โดยผ่านการตรวจสอบ (auditing) และการตรวจพิสูจน์ (verification) อย่างมีอิสระ
หน้าแรก CDM
CDM คืออะไร
CDM คืออะไร
หลักการในการดำเนินโครงการ CDM
ลักษณะและประเภทของโครงการ CDM
การพัฒนาโครงการ
ขั้นตอนการพัฒนาโครงการ
รายชื่อบริษัทที่ปรึกษา/DOE
การขอคำรับรอง
การให้คำรับรองโครงการ
หลักเกณฑ์การพัฒนาที่ยั่งยืน (SD Criteria)
ขั้นตอนการพิจารณาให้คำรับรอง
เอกสารประกอบการพิจารณาให้คำรับรอง
การเพิ่มกิจกรรมโครงการ (CPA)
ค่าธรรมเนียมการขอคำรับรองโครงการ
สถิติโครงการ CDM
โครงการที่ได้รับ LoA ของประเทศไทย
โครงการ CDM ของประเทศไทย
ข้อมูลสถิติโครงการ CDM ของประเทศไทย
โครงการ CDM ทั่วโลก
สิทธิประโยชน์
การติดตามประเมินผล
วัตถุประสงค์
แนวทางการติดตามประเมินผล
ข่าวและกิจกรรม CDM
ข่าวสารและกิจกรรม CDM
กำหนดการจัดกิจกรรม CDM
ดาวน์โหลด
ข้าพเจ้ายินยอมให้ อบก. ใช้ข้อมูล เพื่อจัดเก็บเป็นฐานข้อมูล และรับข่าวสารอื่น ๆ ของ อบก. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นโยบายความเป็นส่วนตัว
ยอมรับ